การทำให้เกิด
สารกฤษณา
Menu
Home
About us
Learning center
Gallery
Patent
Contact
ENG
Agarwood Pheeraphan
ความรู้เกี่ยวกับไม้กฤษณา (ไม้ที่แพงที่สุดในโลก)
วิจัย - พัฒนา สร้างมาตรฐานโลก
ประวัติความเป็นมาของกฤษณา
ลักษณะทั่วไป
การขยายพันธุ์
วิธีการปลูกไม้กฤษณา
การบรรจุและการขนส่งกล้า
การทำให้เกิดสารกฤษณา
การทำให้เกิดสารกฤษณา
พีระพันธุ์ วิจิตรพันธุ์ (นักวิจัยอิสระ)
การเปิดเปลือกไม้ออก
การเปิดปากแผล เพื่อกระตุ้นให้เกิดสารกฤษณา
ความจำเป็นในการวิจัยและพัฒนา
การที่ไม้กฤษณากำลังจะสูญพันธ์ไปจากป่าของประเทศไทย จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องระดมนักวิชาการที่เกี่ยวข้องหลาย ๆ สาขา เร่งทำการวิจัยเกี่ยวกับไม้กฤษณา โดยควรเน้นการวิจัยในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้ การอนุรักษ์สายพันธุ์กฤษณา ทำการอนุรักษ์แหล่งพันธุกรรมไว้ในสภาพธรรมชาติ หรือสะสมสายพันธุ์ต่างๆ ไว้ โดยมีการจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะขึ้นมาดูแล เน้นการศึกษาการพัฒนาการปลูกไม้กฤษณาเพื่อการค้า โดยให้ภาคเอกชนได้เข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งการขยายพันธุ์เป็นปริมาณมากเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ เน้นการศึกษาการกระตุ้นให้ต้นกฤษณาสร้างกฤษณา โดยใช้การวิจัยและพัฒนาเป็นกรอบ รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ไม้ธรรมชาติที่ทำให้เกิดสารกฤษณา อายุ 19 ปี จากต่างประเทศ
ไม้ปลูก 4 ปี หลังทำสารได้ 3 เดือน